วันอังคารที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2551

ประโยชน์

งานเสร็จที่กำหนด
พนักงานมีความพร้อมมากขึ้น
มีระเบียบวินัยในการทำงาน

ความหมายของการควบคุมเวลาในการทำงาน

การตรวจสอบการปฏิบัติงานว่าได้มีการดำเนินการตามแผนที่ได้กำหนดไว้หรือไม่ เพื่อทำการหาจุดบกพร่องและจุดอ่อนของผลการปฏิบัติงานและนำมาปรับปรุงแก้ไขเพื่อที่จะให้ผลการปฏิบัติงานนั้นได้ดำเนินไปตามแผนและมาตรฐานที่กำเนินไว้

ความสำคัญของการควบคุมเวลาในการทำงาน

* ทำให้งานนั้นเป็นไปตามแผนและมาตรฐานที่ได้กำหนดไว้
* สามารถตรวจสอบวิธีการปฏิบัติงานว่าได้เป็นไปตามแผนหรือไม่ ถ้าผลการปฏิบัติงาน ไม่ดำเนินการไปตามแผน ก็สามารถนำมาปรับปรุงแก้ไขให้ดีขึ้น
* ทำให้สามารถตรวจสอบผลการปฏิบัติงานว่าได้ดำเนินการไปถึงขั้นไหนแล้ว เพื่อที่จะสามารถดำเนินในขั้น ต่อไปได้

* ทำให้ทราบถึงปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงานว่าเป็นอย่างไร เกิดขึ้นเมื่อไร และควรแก้ไขอย่างไร

จัดทำโดย

นางสาวกัลยาณี ศรีรุ่ง
เลขที่ 3 ชั้น ปวส.1
แผนกเลขานุการ

อ้างอิง

มาจากเว็บไซต์ www.Google.com

วันจันทร์ที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2551

ตัวอย่างการควบคุมเวลาในการทำงาน

กฎระเบียบของการทำงาน
เวลาที่ใช้ในการทำงาน
การเคารพผู้ควบคุมงาน

กระบวนการควบคุม

1. กำหนดมาตรฐาน
2. การวัดผลการปฏิบัติงานจริง
3. การเปรียบเทียบผลปฏิบัติงานจริงกับมาตรฐาน
4. ปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่อง

เทคนิคในการควบคุม

กระบวนการครวคุมโดยใช้วงจรเดมิ่ง
P = Plan
D = Do
C = Check
A = Action

วันอาทิตย์ที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2551

การควบคุมเวลาในการทำงาน

ปัจจุบันองค์กรส่วนใหญ่มักพบว่าการปฏิบัติงานของพนักงานไม่มีการจัดลำดับงานอย่างถูกต้องและเหมาะสมทำให้การปฏิบัติงานไม่แล้วเสร็จตามกำหนด ดังนั้นพนักงานควรได้รับการจัดฝึกอบรมในเรื่องการจัดลำดับงาน ความสามารถในการบริหารจัดการงานที่เร่งด่วนทั้งที่มีงานประจำหรือโครงการพิเศษได้เพื่อให้สำเร็จภายใต้เงื่อนไขของระยะเวลาที่กำหนดขึ้น รวมถึงเทคนิคขั้นตอนในการทำงานเร่งด่วนให้ประสบความสำเร็จและพร้อมรับกับการเปลี่ยนแปลงแผนการปฏิบัติงานและเป้าหมายในการทำงานของตนเองได้ นอกจากนี้ควรได้รับการปลูกฝังค่านิยมในการทำงานเป็นทีมร่วมกันเพื่อให้เกิดการช่วยเหลือกันในกลุ่มสมาชิกทีมและองค์กร